อำนาจไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ท.
ผู้ถูกกล่าวหาด ารงต าแหน่งเป็น-เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งด ารงต าแหน่งต่ ากว่าผู้บริหารระดับสูง หรือข้าราชการที่ด ารงต าแหน่งต่ ากว่าผู้อ านวยการระดับต้นหรือเทียบเท่าลงมา-เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลอื่นเป็นตัวการ ผู้ใช้ หรือผู้สนับสนุน (พ.ร.บ. ป.ป.ท. ม.3 ค านิยาม“เจ้าหน้าที่ของรัฐ”, 23 พระกอบ พ.ร.ป. ป.ป.ช. ม.4 ค านิยาม “ผู้บริหารระดับสูง” “ผู้อ านวยการกอง”,19(4),84)คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติว่าเป็นความผิดทางอาญา (พ.ร.บ. ป.ป.ท. ม.45 วรรคหนึ่ง)อ านาจไต่สวนข้อเท็จจริงของกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
อ ำนาจไต่สวนข้อเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ผู้ถูกกล่าวหาด ารงต าแหน่งเป็น(1) ผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองหรือผู้บริหารระดับสูง ซึ่งมิใช่บุคคลตามมาตรา 66(2) ผู้พิพากษาและตุลาการ(3) พนักงานอัยการ(4) เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของศาลและองค์กรตามรัฐธรรมนูญ(5) ผู้บริหารท้องถิ่น รองผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ช่วยผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(6) เจ้าหน้าที่ของรัฐในส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและส านักงานเลขาธิการวุฒิสภา(7) เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตตามก าหมายว่าด้วยการนั้น(8) เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งกระท าความผิดในลักษณะมที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควรด าเนินการ(9) เจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งร่วมกระท าความผิดกับบุคคลตาม (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) หรือ (8)รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลอื่นเป็นตัวการ ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนในขณะที่ผู้ถูกกล่าวหาเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือพ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่เกินห้าปี แต่ภาย ใต้กฎหมายว่าด้วยอายุความแม้พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐไปเกินห้าปีแล้ว ย่อมไม่เป็นการตัดอ านาจของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่จะยกค ากล่าวหาที่ได้มีการกล่าวหาไว้แล้วหรือกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นกระท าความผิดขึ้นไต่สวนได้ ทั้งนี้ ต้องไม่เกิน 10 ปีนับแต่พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ (พ.ร.บ. ป.ป.ช. ม.4 ค านิยาม “ผู้บริหารระดับสูง” “ผู้อ านวยการกอง”,19(4),84)กรณีไม่อาจหาข้อยุติได้ ให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอ านาจฟ้องคดีเองหรือแต่งตั้งทนายความให้ฟ้องคดีแทน (พ.ร.บ. ป.ป.ช. ม.84,97 วรรคหนึ่ง,วรรคสอง)คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติว่ามีความผิดทางอาญา (พ.ร.บ. ป.ป.ช. ม.97 วรรคหนึ่ง) ให้ส่งเรื่องให้อัยการสูงสุด